สถาบันการเงิน ที่ได้รับการคุ้มครอง จากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก | 1.ธนาคารพาณิชย์ไทย (รวมสาขาธนาคารต่างประเทศ) ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ, ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, ธนาคารกสิกรไทย,ธนาคารเกียรตินาคิน, ธนาคารทหารไทย, ธนาคารทิสโก้, ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย, ธนาคารไทยพาณิชย์, ธนาคารธนชาต, ธนาคารยูโอบี, ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย), ธนาคารไอซีบีซี(ไทย), ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย, ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์, ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์, ธนาคารซิตี้แบงก์, ธนาคารเครดิต อะกริกอล คอร์ปอร์เรทแอนด์อินเวสเม้นท์แบงก์, ธนาคารเจพีมอร์แกน เชส, ธนาคารซูมิโตโม มิตซุยแบงกิ้ง คอร์ปอร์เรชั่น, ธนาคารดอยซ์แบงก์, ธนาคารบีเอ็นพี พารีบาส์, ธนาคารมิซูโฮ คอร์ปอเรต, ธนาคารแห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ, ธนาคารแห่งประเทศจีน, ธนาคารแห่งอเมริกาเนชั่นแนลแอสโซซิเอชั่น, ธนาคารอาร์ เอช บี, ธนาคารเดอะรอยัลแบงก์อ๊อฟสกอตแลนด์ เอ็น.วี., ธนาคารอินเดียนโอเวอร์ซีส์, ธนาคารฮ่องกงแอนด์เซี่ยงไฮ้ แบงก์กิ้งคอร์ปอเรชั่น, ธนาคารโอเวอร์ซี-ไชนีสแบงก์กิ้ง คอร์ปอเรชั่น 2. บริษัทเงินทุน ได้แก่ บง.กรุงเทพธนาทร, บง.สินอุตสาหกรรม, บง.แอดวานซ์ 3. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ได้แก่ บค.ลินน์ ฟิลลิปส์ มอร์ทเก็จ, บค.สหวิริยา, บค.เอเซีย |
สถาบันการเงิน ที่ไม่ได้รับการคุ้มครอง จากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก | 1. ธนาคารออมสิน 2. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 3. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 4. ธนาคารอิสลาม (เนื่องจากเป็นธนาคารที่รัฐบาลถือหุ้นและดูแลเงินฝากอยู่แล้ว ดังนั้นจึงได้รับความคุ้มครองจากรัฐบาลเต็มจำนวน) |
ประเภทบัญชี ที่ได้รับการคุ้มครอง จากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก | บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน ออมทรัพย์ ประจำ บัตรเงินฝาก และใบรับฝากเงินที่เป็นเงินบาท ไม่รวมเงินฝากในบัญชีเงินบาทของบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ |
จำนวนเงิน ที่ได้รับการคุ้มครอง จากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก | ตั้งแต่ 11 ส.ค.55 - 10 ส.ค.58 คุ้มครองไม่เกิน 50 ล้านบาท ตั้งแต่ 11 ส.ค.58 - 10 ส.ค.59 คุ้มครองไม่เกิน 25 ล้านบาท ตั้งแต่ 11 ส.ค.59 เป็นต้นไป วงเงินที่ได้รับความคุ้มครอง คือ 1 ล้านบาท ต่อคน ต่อบัญชี |
สถาบันการเงิน | จุดเด่น | จุดด้อย |
ธนาคาร | 1. มีความมั่นคง น่าเชื่อถือ 2. มีรูปแบบการฝาก การออมที่หลากหลาย 3. มีโปรโมชั่นดอกเบี้ยเงินฝากใหม่ๆเสมอ 4. มีสาขาบริการหลายแห่ง และสะดวกในการใช้บริการ | 1. ผลตอบแทนอัตราดอกเบี้ยอาจต่ำกว่าสถาบันการเงินรูปแบบอื่น 2. ต้องเสียภาษีบนดอกเบี้ยที่ได้รับ |
สหกรณ์ออมทรัพย์ต่างๆ | 1. ผลตอบแทนจะมีมากกว่าในรูปของเงินปันผล เงินเฉลี่ยคืน และอัตราดอกเบี้ย 2. ได้รับสวัสดิการตอบแทนอื่นๆที่สหกรณ์จัดขึ้น เช่น ทุนการศึกษาบุตร เงินช่วยเหลือกรณีคู่สมรสเสียชีวิต การประกันชีวิต เป็นต้น 3. ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินปันผล เงินเฉลี่ยคืน และดอกเบี้ยออมทรัพย์ | 1.จำกัดการฝากเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกของสหกรณ์เท่านั้น |
ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ | 1. ให้ผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ยสูงกว่าธนาคารพาณิชย์ | 1. ไม่มีสาขาในการให้บริการ 2. ความมั่นคงทางการเงินอาจไม่ดีเท่าธนาคาร 3. ตราสารการฝากเงินอาจมีรูปแบบค่อนข้างจำกัด 4.ต้องเสียภาษีบนดอกเบี้ยที่ได้รับ |
บริษัทเงินทุน | 1. ให้ผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ยที่สูงกว่าธนาคารพาณิชย์ | 1. ไม่มีสาขาในการให้บริการ 2. ความมั่นคงทางการเงินอาจไม่ดีเท่าธนาคาร 3. ตราสารการฝากเงินอาจมีรูปแบบค่อนข้างจำกัด 4. ต้องเสียภาษีบนดอกเบี้ยที่ได้รับ |
ประเภทบุคคล | เอกสารที่ใช้ประกอบการเปิดบัญชี |
บุคคลธรรมดา |
|
บุคคลธรรมดา ที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี |
|
ชาวต่างชาติ (บุคคลธรรมดา ที่ไม่ใช่สัญชาติไทย) | กรณีบัญชี Resident Account
กรณีบัญชี Non Resident Account
|
เมื่อคุณเข้าชมเว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชั่น checkraka เราอาจจัดเก็บ หรือดึงข้อมูลจากเบราว์เซอร์ของคุณในรูปแบบของคุกกี้ และเทคโนโลยีอื่นที่คล้ายคลึง เช่น tag และ pixel (เรียกรวมกันว่า “คุกกี้”) ซึ่งมักเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้โดยตรง แต่ช่วยให้คุณใช้งานเว็บไซต์ได้ปลอดภัย และตรงตามความต้องการมากขึ้น คุณอาจไม่ยินยอมให้เราเก็บคุกกี้บางประเภทได้ โดยการคลิกตามหัวข้อข้างล่างนี้
ประเภทคุกกี้ อ่านเพิ่มเติม ที่นี่ |
ยินยอม / ไม่ยินยอม |
---|---|
คุกกี้ที่จำเป็นต้องมีเสมอ (Strictly Necessary) |
|
คุกกี้สำหรับการใช้งานเว็บไซต์ (Functionality) |
|
คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและวิเคราะห์ (Performance & Analytics) |
|
คุกกี้เพื่อการตลาด (Marketing) |